เขตเลือกตั้งภาคอีสาน 2566 ทั้ง 20 จังหวัด รวม 133 เขตเลือกตั้ง

วิเคราะห์

1,430 VIEWS

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ออก ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จํานวนเขตเลือกตั้ง และท้องที่ที่ประกอบเป็นเขตเลือกตั้ง เพื่อกำหนดเขตเลือกตั้ง 2566 สำหรับเขตเลือกตั้งทั้ง 400 เขต ทั้ง 77 จังหวัดทั่วประเทศ โดยได้แบ่ง เขตเลือกตั้งภาคอีสาน ทั้ง 20 จังหวัด นับรวมได้ 133 เขตเลือกตั้ง โดยพื้นที่ภาคอีสานเป็นภาคที่ได้รับการจัดสรรเขตเลือกมากที่สุดของประเทศ โดยนครราชสีมา เป็นจังหวัดที่มีเขตเลือกตั้งมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีราษฎร 2,625,139 คน ทำให้ได้รับสิทธิเลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 16 คน จาก 16 เขตเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด – 133 เขตเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด มีจำนวนเขตเลือกตั้งรวมทั้งสิ้น 133 เขต โดยแบ่งเขตเลือกตั้งตามจังหวัดได้ดังนี้

กาฬสินธุ์ – 6 เขตเลือกตั้ง

กาฬสินธุ์มีราษฎร 971,141 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 6 คน

กาฬสินธุ์ – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองกาฬสินธุ์
  2. อําเภอสมเด็จ (เฉพาะตําบลหนองแวง)
  3. อําเภอนามน (เฉพาะตําบลยอดแกง

กาฬสินธุ์ – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอยางตลาด
  2. อําเภอฆ้องชัย

กาฬสินธุ์ – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอหนองกุงศรี
  2. อําเภอห้วยเม็ก
  3. อําเภอท่าคันโท

กาฬสินธุ์ – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอสมเด็จ (ยกเว้นตําบลหนองแวง)
  2. อําเภอสหัสขันธ์
  3. อําเภอสามชัย
  4. อําเภอคําม่วง

กาฬสินธุ์ – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอห้วยผึ้ง
  2. อําเภอนามน (ยกเว้นตําบลยอดแกง)
  3. อําเภอดอนจาน
  4. อําเภอร่องคํา
  5. อําเภอกมลาไสย

กาฬสินธุ์ – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอกุฉินารายณ์
  2. อําเภอเขาวง
  3. อําเภอนาคู

ขอนแก่น – 11 เขตเลือกตั้ง

ขอนแก่นมีราษฎร 1,780,866 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 11 คน

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตําบลในเมือง ตําบลเมืองเก่า และตําบลพระลับ)

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 2

  • อําเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตําบลบ้านเป็ด ตําบลศิลา ตําบลโคกสี ตําบลหนองตูม ตําบลแดงใหญ่ ตําบลบึงเนียม ตําบลสําราญ และตําบลสาวะถี)

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอกระนวน
  2. อําเภอซําสูง
  3. อําเภอน้ําพอง (เฉพาะตําบลบัวเงิน ตําบลพังทุย ตําบลทรายมลู ตําบลบัวใหญ่ และตําบลบ้านขาม)
  4. อําเภอเขาสวนกวาง (เฉพาะตําบลเขาสวนกวาง และตําบลคําม่วง)

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอน้ําพอง (เฉพาะตําบลน้ําพอง ตําบลสะอาด ตําบลกุดน้ําใส ตําบลวังชัย ตําบลหนองกุง ตําบลม่วงหวาน และตําบลท่ากระเสริม)
  2. อําเภออุบลรัตน์
  3. อําเภอเขาสวนกวาง (เฉพาะตําบลดงเมืองแอม ตําบลนางิ้ว และตําบลโนนสมบูรณ์)
  4. อําเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตําบลบ้านค้อ และตําบลโนนท่อน)

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอภูเวียง (เฉพาะตําบลภูเวียง ตําบลบ้านเรือ ตําบลดินดํา ตําบลหว้าทอง ตําบลทุ่งชมพู
    ตําบลนาหว้า ตําบลหนองกุงธนสาร ตําบลนาชุมแสง และตําบลสงเปือย)
  2. อําเภอสีชมพู (เฉพาะตําบลสีชมพู ตําบลบริบูรณ์ ตําบลดงลาน ตําบลบ้านใหม่ ตําบลภูห่าน ตําบลหนองแดง ตําบลศรีสุข และตําบลวังเพิ่ม)
  3. อําเภอหนองนาคํา
  4. อําเภอเวียงเก่า

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอชุมแพ
  2. อําเภอภูผาม่าน
  3. อําเภอสีชมพู (เฉพาะตําบลซํายาง และตําบลนาจาน)

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอหนองเรือ
  2. อําเภอบ้านฝาง
  3. อําเภอภูเวียง (เฉพาะตําบลหนองกุงเซิน และตําบลกุดขอนแก่น)

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 8

  1. อําเภอมัญจาคีรี
  2. อําเภอพระยืน
  3. อําเภอเมืองขอนแก่น (เฉพาะตําบลบ้านทุ่ม ตําบลบ้านหว้า ตําบลดอนช้าง ตําบลดอนหัน และตําบลท่าพระ)

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 9

  1. อําเภอพล
  2. อําเภอแวงน้อย
  3. อําเภอแวงใหญ่

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 10

  1. อําเภอหนองสองห้อง
  2. อําเภอโนนศิลา
  3. อําเภอเปือยน้อย
  4. อําเภอโคกโพธิ์ไชย
  5. อําเภอชนบท (เฉพาะตําบลห้วยแก ตําบลวังแสง และตําบลปอแดง)

ขอนแก่น – เขตเลือกตั้งที่ 11

  1. อําเภอบ้านไผ่
  2. อําเภอบ้านแฮด
  3. อําเภอชนบท (เฉพาะตําบลศรีบุญเรือง ตําบลชนบท ตําบลโนนพะยอม ตําบลบ้านแท่น และตําบลกุดเพียขอม)

ชัยภูมิ – 7 เขตเลือกตั้ง

ชัยภูมิมีราษฎร 1,116,693 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 7 คน

ชัยภูมิ – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองชัยภูมิ (ยกเว้น ตําบลห้วยต้อน ตําบลท่าหินโงม และตําบลซับสีทอง)

ชัยภูมิ – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอจัตุรัส
  2. อําเภอเนินสง่า
  3. อําเภอบ้านเขว้า
  4. อําเภอซับใหญ่

ชัยภูมิ – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอบําเหน็จณรงค์
  2. อําเภอเทพสถิต
  3. อําเภอหนองบัวระเหว

ชัยภูมิ – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอหนองบัวแดง
  2. อําเภอภักดีชุมพล
  3. อําเภอเมืองชัยภูมิ (เฉพาะตําบลห้วยต้อน)
  4. อําเภอเกษตรสมบูรณ์ (เฉพาะตําบลหนองข่า)

ชัยภูมิ – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอเกษตรสมบูรณ์ (ยกเว้นตําบลหนองข่า)
  2. อําเภอคอนสาร

ชัยภูมิ – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอภูเขียว
  2. อําเภอบ้านแท่น

ชัยภูมิ – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอแก้งคร้อ
  2. อําเภอคอนสวรรค์
  3. อําเภอเมืองชัยภูมิ (เฉพาะตําบลท่าหินโงม และตําบลซับสีทอง)

นครพนม – 4 เขตเลือกตั้ง

นครพนมมีราษฎร 714,943 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 4 คน

นครพนม – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอศรีสงคราม
  2. อําเภอนาหว้า
  3. อําเภอบ้านแพง
  4. อําเภอนาทม

นครพนม – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอเมืองนครพนม (เฉพาะเทศบาลเมืองนครพนม ตําบลท่าค้อ ตําบลนาราชควาย ตําบลหนองญาติ
    และตําบลอาจสามารถ)
  2. อําเภอท่าอุเทน
  3. อําเภอโพนสวรรค์

นครพนม – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตําบลขามเฒ่า ตําบลคําเตย ตําบลนาทราย ตําบลดงขวาง ตําบลบ้านกลาง และตําบลโพธิ์ตาก) 
  2. อําเภอธาตุพนม
  3. อําเภอเรณูนคร

นครพนม – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตําบลกุรุคุ ตําบลบ้านผึ้ง และตําบลวังตามัว)
  2. อําเภอนาแก
  3. อําเภอปลาปาก
  4. อําเภอวังยาง

นครราชสีมา – 16 เขตเลือกตั้ง

นครราชสีมามีราษฎร 2,625,139 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 16 คน

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตําบลในเมือง ตําบลโพธิ์กลาง และตําบลหนองไผ่ล้อม)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 2

  • อําเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตําบลโคกสูง ตําบลบ้านโพธิ์ ตําบลตลาด ตําบลหนองไข่นํ้า ตําบลบ้านเกาะ ตําบลพะเนา ตําบลมะเริง ตําบลหนองบัวศาลา ตําบลหนองระเวียง ตําบลหัวทะเล และตําบลจอหอ)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอเมืองนครราชสีมา (เฉพาะตําบลโคกกรวด ตําบลปรุใหญ่ ตําบลหนองจะบก ตําบลสุรนารี ตําบลหมื่นไวย ตําบลบ้านใหม่ ตําบลไชยมงคล ตําบลหนองกระทุ่ม ตําบลพลกรัง ตําบลพุดซา และตําบลสีมุม)
  2. อําเภอโนนไทย (เฉพาะตําบลด่านจาก ตําบลกําปัง และตําบลสําโรง)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอสูงเนิน
  2. อําเภอขามทะเลสอ
  3. อําเภอโนนไทย (ยกเว้นตําบลด่านจาก ตําบลกําปัง และตําบลสําโรง)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอโนนสูง
  2. อําเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตําบลพระพุทธ ตําบลหนองยาง และตําบลหนองงูเหลือม)
  3. อําเภอพิมาย (เฉพาะตําบลสัมฤทธิ์ ตําบลชีวาน ตําบลกระเบื้องใหญ่ และตําบลท่าหลวง)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอบัวใหญ่
  2. อําเภอแก้งสนามนาง
  3. อําเภอสีดา
  4. อําเภอบัวลาย

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอประทาย
  2. อําเภอโนนแดง
  3. อําเภอลําทะเมนชัย
  4. อําเภอเมืองยาง

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 8

  1. อําเภอพิมาย (ยกเว้นตําบลสัมฤทธิ์ ตําบลชีวาน ตําบลกระเบื้องใหญ่ และตําบลท่าหลวง)
  2. อําเภอชุมพวง (ยกเว้นตําบลโนนตูม และตําบลตลาดไทร)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 9

  1. อําเภอห้วยแถลง
  2. อําเภอจักราช
  3. อําเภอชุมพวง (เฉพาะตําบลโนนตูม และตําบลตลาดไทร)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 10

  1. อําเภอโชคชัย
  2. อําเภอครบุรี (ยกเว้นตําบลมาบตะโกเอน ตําบลตะแบกบาน ตําบลลําเพียก ตําบลโคกกระชาย และตําบลสระว่านพระยา)
  3. อําเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตําบลหนองงูเหลือม ตําบลพระพุทธ และตําบลหนองยาง)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 11

  1. อําเภอหนองบุญมาก
  2. อําเภอเสิงสาง
  3. อําเภอครบุรี (เฉพาะตําบลมาบตะโกเอน ตําบลตะแบกบาน ตําบลลําเพียก ตําบลโคกกระชาย และ
    ตําบลสระว่านพระยา)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 12

  1. อําเภอปักธงชัย
  2. อําเภอวังน้ําเขียว

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 13

  1. อําเภอสีคิ้ว
  2. อําเภอปากช่อง (เฉพาะตําบลวังไทร ตําบลคลองม่วง ตําบลวังกะทะ และตําบลโป่งตาลอง)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 14

  • อําเภอปากช่อง (ยกเว้นตําบลวังไทร ตําบลคลองม่วง ตําบลวังกะทะ และตําบลโป่งตาลอง)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 15

  1. อําเภอด่านขุนทด
  2. อําเภอเทพารักษ์
  3. อําเภอพระทองคํา (เฉพาะตําบลทัพรั้ง และตําบลมาบกราด)

นครราชสีมา – เขตเลือกตั้งที่ 16

  1. อําเภอคง
  2. อําเภอขามสะแกแสง
  3. อําเภอบ้านเหลื่อม
  4. อําเภอพระทองคํา (ยกเว้นตําบลทัพรั้ง และตําบลมาบกราด)

บึงกาฬ – 3 เขตเลือกตั้ง

บึงกาฬมีราษฎร 420,870 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 3 คน

บึงกาฬ – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองบึงกาฬ
  2. อําเภอศรีวิไล

บึงกาฬ – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอเซกา
  2. อําเภอบึงโขงหลง
  3. อําเภอบุ่งคล้า

บึงกาฬ – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอโซ่พิสัย
  2. อําเภอพรเจริญ
  3. อําเภอปากคาด

บุรีรัมย์ – 10 เขตเลือกตั้ง

บุรีรัมย์มีราษฎร 1,574,704 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 10 คน

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตําบลในเมือง ตําบลบ้านบัว ตําบลพระครู ตําบลถลุงเหลก็ ตําบลหนองตาด ตําบลบ้านยาง ตําบลบัวทอง ตําบลชุมเห็ด ตําบลกลันทา ตําบลกระสัง ตําบลสะแกโพรง และตําบลลุมปุ๊ก)
  2. อําเภอบ้านด่าน (เฉพาะตําบลปราสาท และตําบลบ้านด่าน)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตําบลหลักเขต ตําบลสวายจีก ตําบลเสม็ด ตําบลสองห้อง ตําบลสะแกซำ ตําบลเมืองฝาง และตําบลอิสาณ)
  2. อําเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตําบลสําโรง ตําบลสะเดา และตําบลจันดุม)
  3. อําเภอชํานิ
  4. อําเภอประโคนชัย (เฉพาะตําบลไพศาล)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอกระสัง
  2. อําเภอห้วยราช
  3. อําเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตําบลโคกขมิ้น และตําบลป่าชัน)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอสตึก
  2. อําเภอแคนดง
  3. อําเภอบ้านด่าน (เฉพาะตําบลโนนขวาง และตําบลวังเหนือ)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอนาโพธิ์
  2. อําเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
  3. อําเภอพุทไธสง
  4. อําเภอคูเมือง (ยกเว้นตําบลพรสําราญ)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอลําปลายมาศ
  2. อําเภอคูเมือง (เฉพาะตําบลพรสําราญ)
  3. อําเภอหนองหงส์ (เฉพาะตําบลไทยสามัคคี ตําบลสระทอง และตําบลเสาเดียว)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอปะคํา (เฉพาะตําบลไทยเจริญ ตําบลหนองบัว และตําบลโคกมะม่วง)
  2. อําเภอโนนสุวรรณ
  3. อําเภอหนองกี่
  4. อําเภอหนองหงส์ (เฉพาะตําบลหนองชัยศรี ตําบลห้วยหิน ตําบลเมืองฝ้าย และตําบลสระแก้ว)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 8

  1. อําเภอนางรอง
  2. อําเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตําบลเจริญสุข และตําบลถาวร)
  3. อําเภอปะคํา (เฉพาะตําบลปะคํา และตําบลหูทำนบ)
  4. อําเภอโนนดินแดง (เฉพาะตําบลโนนดินแดง)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 9

  1. อําเภอโนนดินแดง (ยกเว้นตําบลโนนดินแดง)
  2. อําเภอละหานทราย
  3. อําเภอบ้านกรวด (เฉพาะตําบลบ้านกรวด ตําบลปราสาท ตําบลบึงเจริญ ตําบลจันทบเพชร และตําบลหนองไม้งาม)
  4. อําเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตําบลยายแย้มวัฒนา ตําบลอีสาณเขต และตําบลตาเป๊ก)

บุรีรัมย์ – เขตเลือกตั้งที่ 10

  1. อําเภอประโคนชัย (ยกเว้นตําบลไพศาล)
  2. อําเภอบ้านกรวด (เฉพาะตําบลเขาดินเหนือ ตําบลโนนเจริญ ตําบลหินลาด และตําบลสายตะกู)

มหาสารคาม – 6 เขตเลือกตั้ง

มหาสารคามมีราษฎร 943,811 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 6 คน

มหาสารคาม – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองมหาสารคาม

มหาสารคาม – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอวาปีปทุม
  2. อําเภอแกดํา
  3. อําเภอบรบือ (เฉพาะตําบลหนองม่วง ตําบลยาง และตําบลบัวมาศ)

มหาสารคาม – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย
  2. อําเภอนาดูน
  3. อําเภอยางสีสุราช

มหาสารคาม – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอบรบือ (ยกเว้นตําบลหนองม่วง ตําบลยาง และตําบลบัวมาศ)
  2. อําเภอนาเชือก

มหาสารคาม – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอโกสุมพิสัย
  2. อําเภอกุดรัง
  3. อําเภอกันทรวิชัย (เฉพาะตําบลเขวาใหญ่)

มหาสารคาม – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอกันทรวิชัย (ยกเว้นตําบลเขวาใหญ่)
  2. อําเภอเชียงยืน
  3. อําเภอชื่นชม

มุกดาหาร – 2 เขตเลือกตั้ง

มุกดาหารมีราษฎร 348,550 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 2 คน

มุกดาหาร – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองมุกดาหาร (เฉพาะตําบลมุกดาหาร ตําบลศรีบุญเรือง ตําบลคําอาฮวน ตําบลดงเย็น ตําบลบางทรายใหญ่ ตําบลบ้านโคก ตําบลคําป่าหลาย ตําบลกุดแข้ ตําบลนาสีนวน และตําบลโพนทราย)
  • อําเภอดอนตาล
  • อําเภอหว้านใหญ่

มุกดาหาร – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอเมืองมุกดาหาร (เฉพาะตําบลผึ่งแดด ตําบลดงมอน และตําบลนาโสก)
  2. อําเภอคําชะอี
  3. อําเภอนิคมคําสร้อย
  4. อําเภอดงหลวง
  5. อําเภอหนองสูง

ยโสธร – 3 เขตเลือกตั้ง

ยโสธรมีราษฎร 531,238 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 3 คน

ยโสธร – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองยโสธร
  2. อําเภอทรายมูล
  3. อําเภอป่าติ้ว (เฉพาะตําบลศรีฐาน และตําบลกระจาย)
  4. อําเภอคําเขื่อนแก้ว (เฉพาะตําบลทุ่งมน)

ยโสธร – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอคําเขื่อนแก้ว (ยกเว้นตําบลทุ่งมน)
  2. อําเภอมหาชนะชัย
  3. อําเภอค้อวัง
  4. อําเภอป่าติ้ว (ยกเว้นตําบลศรีฐาน และตําบลกระจาย)
  5. อําเภอไทยเจริญ (เฉพาะตําบลน้ําคํา และตําบลคําไผ่)

ยโสธร – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอเลิงนกทา
  2. อําเภอกุดชุม
  3. อําเภอไทยเจริญ (ยกเว้นตําบลนํ้าคํา และตําบลคําไผ่)

ร้อยเอ็ด – 8 เขตเลือกตั้ง

ร้อยเอ็ดมีราษฎร 1,289,899 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 8 คน

ร้อยเอ็ด – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอโพธิ์ชัย
  2. อําเภอจังหาร
  3. อําเภอเชียงขวัญ
  4. อําเภอโพนทอง (เฉพาะตําบลอุ่มเม่า ตําบลนาอุดม และตําบลคํานาดี)
  5. อําเภอธวัชบุรี (เฉพาะตําบลหนองพอก ตําบลธวัชบุรี และตําบลมะอึ)

ร้อยเอ็ด – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอหนองพอก
  2. อําเภอเมยวดี
  3. อําเภอโพนทอง (เฉพาะตําบลแวง ตําบลโคกกกม่วง ตําบลสว่าง ตําบลหนองใหญ่ ตําบลโนนชัยศรี ตําบลพรมสวรรค์ ตําบลสระนกแก้ว ตําบลวังสามัคคี และตําบลโพธิ์ทอง)

ร้อยเอ็ด – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอเสลภูมิ
  2. อําเภอทุ่งเขาหลวง (เฉพาะตําบลทุ่งเขาหลวง ตําบลบึงงาม และตําบลมะบ้า)
  3. อําเภอธวัชบุรี (เฉพาะตําบลบึงนคร ตําบลธงธานี และตําบลไพศาล)
  4. อําเภอโพนทอง (เฉพาะตําบลโคกสูง และตําบลโพธิ์ศรีสว่าง)

ร้อยเอ็ด – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอพนมไพร
  2. อําเภออาจสามารถ (เฉพาะตําบลโพนเมือง ตําบลบ้านแจ้ง ตําบลอาจสามารถ ตําบลหน่อม ตําบลหนองหมื่นถ่าน และตําบลหนองขาม)
  3. อําเภอธวัชบุรี (เฉพาะตําบลนิเวศน์ ตําบลหนองไผ่ และตําบลอุ่มเม้า)
  4. อําเภอทุ่งเขาหลวง (ยกเว้นตําบลทุ่งเขาหลวง ตําบลบึงงาม และตําบลมะบ้า)
  5. อําเภอหนองฮี (เฉพาะตําบลหนองฮี)

ร้อยเอ็ด – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอสุวรรณภูมิ
  2. อําเภอโพนทราย
  3. อําเภอหนองฮี (ยกเว้นตําบลหนองฮี)

ร้อยเอ็ด – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอเกษตรวิสัย
  2. อําเภอปทุมรัตต์
  3. อําเภอเมืองสรวง (เฉพาะตําบลคูเมือง ตําบลกกกุง และตําบลหนองหิน)

ร้อยเอ็ด – เขตเลือกตั้งที่ 8

  1. อําเภอจตุรพักตรพิมาน
  2. อําเภอศรีสมเด็จ
  3. อําเภอเมืองสรวง (ยกเว้นตําบลคูเมือง ตําบลกกกุง และตําบลหนองหิน)
  4. อําเภออาจสามารถ (ยกเว้นตําบลโพนเมือง ตําบลบ้านแจ้ง ตําบลอาจสามารถ ตําบลหน่อม ตําบลหนองหมื่นถ่าน และตําบลหนองขาม)
  5. อําเภอธวัชบุรี (เฉพาะตําบลราชธานี ตําบลเขวาทุ่ง และตําบลเมืองน้อย)

เลย – 4 เขตเลือกตั้ง

เลยมีราษฎร 633,291 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 4 คน

เลย – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองเลย
  2. อําเภอเอราวัณ

เลย – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอภูหลวง
  2. อําเภอหนองหิน
  3. อําเภอผาขาว
  4. อําเภอภูกระดึง
  5. อําเภอวังสะพุง (เฉพาะตําบลศรีสงคราม ตําบลหนองหญ้าปล้อง และตําบลโคกขม้ิน)

เลย – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอนาแห้ว
  2. อําเภอด่านซ้าย
  3. อําเภอภูเรือ
  4. อําเภอวังสะพุง (ยกเว้นตําบลศรีสงคราม ตําบลหนองหญ้าปล้อง และตําบลโคกขมิ้น)

เลย – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอท่าลี่
  2. อําเภอเชียงคาน
  3. อําเภอปากชม
  4. อําเภอนาด้วง

ศรีสะเกษ – 9 เขตเลือกตั้ง

ศรีสะเกษมีราษฎร 1,453,360 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 9 คน

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองศรีสะเกษ
  2. อําเภอวังหิน (เฉพาะตําบลทุ่งสว่าง ตําบลธาตุ ตําบลบ่อแก้ว และตําบลบุสูง )

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอกันทรารมย์
  2. อําเภอน้ําเกลี้ยง
  3. อําเภอโนนคูณ (เฉพาะตําบลบก และตําบลโพธิ์)

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอศรีรัตนะ
  2. อําเภอเบญจลักษ์
  3. อําเภอโนนคูณ (ยกเว้นตําบลบก และตําบลโพธิ์)
  4. อําเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตําบลภูเงิน ตําบลกระแชง ตําบลตระกาจ และตําบลจานใหญ่)

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 4

  • อําเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตําบลภูเงิน ตําบลกระแชง ตําบลตระกาจ และตําบลจานใหญ่)

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอขุนหาญ
  2. อําเภอภูสิงห์

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอขุขันธ์
  2. อําเภอไพรบึง (เฉพาะตําบลสําโรงพลัน)

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอปรางค์กู่
  2. อําเภอพยุห์
  3. อําเภอไพรบึง (ยกเว้นตําบลสําโรงพลัน)
  4. อําเภอวังหิน (ยกเว้นตําบลทุ่งสว่าง ตําบลธาตุ ตําบลบ่อแก้ว และตําบลบุสูง)

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 8

  1. อําเภออุทุมพรพิสัย
  2. อําเภอห้วยทับทัน
  3. อําเภอเมืองจันทร

ศรีสะเกษ – เขตเลือกตั้งที่ 9

  1. อําเภอราษีไศล
  2. อําเภอยางชุมน้อย
  3. อําเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
  4. อําเภอศิลาลาด
  5. อําเภอบึงบูรพ์

สกลนคร – 7 เขตเลือกตั้ง

สกลนครมีราษฎร 1,144,056 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 7 คน

สกลนคร – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองสกลนคร (ยกเว้นตําบลหนองลาด ตําบลโคกก่อง ตําบลม่วงลาย ตําบลดงชน และตําบลโนนหอม)

สกลนคร – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอกุสุมาลย์
  2. อําเภอโพนนาแก้ว
  3. อําเภอโคกศรีสุพรรณ
  4. อําเภอเต่างอย
  5. อําเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตําบลโคกก่อง ตําบลม่วงลาย ตําบลดงชน และตําบลโนนหอม)

สกลนคร – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภออากาศอํานวย
  2. อําเภอพรรณานิคม
  3. อําเภอเมืองสกลนคร (เฉพาะตําบลหนองลาด)
  4. อําเภอวานรนิวาส (เฉพาะตําบลนาซอ)

สกลนคร – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอกุดบาก
  2. อําเภอวาริชภูมิ
  3. อําเภอภูพาน
  4. อําเภอนิคมน้ําอูน
  5. อําเภอส่องดาว (ยกเว้นตําบลท่าศิลา)

สกลนคร – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอสว่างแดนดิน
  2. อําเภอส่องดาว (เฉพาะตําบลท่าศิลา)

สกลนคร – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอพังโคน
  2. อําเภอเจริญศิลป์
  3. อําเภอวานรนิวาส (เฉพาะตําบลธาตุ ตําบลเดื่อศรีคันไชย ตําบลศรีวิชัย ตําบลคอนสวรรค์ ตําบลหนองสนม และตําบลขัวก่าย)

สกลนคร – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอบ้านม่วง
  2. อําเภอคําตากล้า
  3. อําเภอวานรนิวาส (เฉพาะตําบลวานรนิวาส ตําบลคูสะคาม ตําบลหนองแวง ตําบลอินทร์แปลง ตําบลนาคํา ตําบลกุดเรือคํา และตําบลหนองแวงใต้)

สุรินทร์ – 8 เขตเลือกตั้ง

สุรินทร์มีราษฎร 1,371,331 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 8 คน

สุรินทร์ – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองสุรินทร์ (เฉพาะเทศบาลเมืองสุรินทร์ ตําบลนอกเมือง ตําบลคอโค ตําบลตระแสง ตําบลสวาย
    ตําบลนาบัว ตําบลเฉนียง ตําบลเทนมีย์ ตําบลตาอ็อง และตําบลสําโรง)
  2. อําเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตําบลหนองเหล็ก และตําบลตรมไพร)

สุรินทร์ – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอเมืองสุรินทร์ (เฉพาะเทศบาลตําบลเมืองที ตําบลเมืองที ตําบลบุฤาษี ตําบลแสลงพนั ธ์ ตําบลแกใหญ่ ตําบลท่าสว่าง ตําบลนาดี ตําบลเพี้ยราม ตําบลตั้งใจ ตําบลกาเกาะ ตําบลสลักได และตําบลราม)
  2. อําเภอเขวาสินรินทร์
  3. อําเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตําบลแตล ตําบลช่างปี่ และตําบลจารพัต)

สุรินทร์ – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอจอมพระ
  2. อําเภอท่าตูม (ยกเว้นตําบลพรมเทพ ตําบลทุ่งกุลา และตําบลโพนครก)
  3. อําเภอสนม (ยกเว้นตําบลหัวงัว)

สุรินทร์ – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอชุมพลบุรี
  2. อําเภอท่าตูม (เฉพาะตําบลพรมเทพ ตําบลทุ่งกุลา และตําบลโพนครก)
  3. อําเภอรัตนบุรี (ยกเว้นตําบลยางสว่าง และตําบลเบิด)

สุรินทร์ – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอรัตนบุรี (เฉพาะตําบลยางสว่าง และตําบลเบิด)
  2. อําเภอโนนนารายณ์
  3. อําเภอสําโรงทาบ
  4. อําเภอสนม (เฉพาะตําบลหัวงัว)
  5. อําเภอศีขรภูมิ (เฉพาะเทศบาล ตําบลศีขรภูมิ ตําบลระแงง ตําบลหนองขวาว ตําบลขวาวใหญ่ ตําบลหนองบัว ตําบลคาละแมะ ตําบลนารุ่ง ตําบลตรึม และตําบลยาง)

สุรินทร์ – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอศีขรภูมิ (เฉพาะเทศบาล ตําบลผักไหม และตําบลกุดหวาย)
  2. อําเภอศรีณรงค์
  3. อําเภอสังขะ (ยกเว้นตําบลตาตุม และตําบลเทพรักษา)

สุรินทร์ – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอปราสาท (ยกเว้นตําบลโชคนาสาม)
  2. อําเภอลําดวน

สุรินทร์ – เขตเลือกตั้งที่ 8

  1. อําเภอปราสาท (เฉพาะตําบลโชคนาสาม)
  2. อําเภอพนมดงรัก
  3. อําเภอกาบเชิง
  4. อําเภอสังขะ (เฉพาะตําบลตาตุม และตําบลเทพรักษา)
  5. อําเภอบัวเชด

หนองคาย – 3 เขตเลือกตั้ง

หนองคายมีราษฎร 510,962 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 3 คน

หนองคาย – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองหนองคาย (ยกเว้นตําบลพระธาตุบังพวน และตําบลเวียงคุก)
  2. อําเภอสระใคร
  3. อําเภอโพนพิสัย (เฉพาะตําบลเหล่าต่างคํา ตําบลทุ่งหลวง และตําบลสร้างนางขาว)

หนองคาย – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอโพนพิสัย (ยกเว้นตําบลเหล่าต่างคํา ตําบลทุ่งหลวง และตําบลสร้างนางขาว)
  2. อําเภอรัตนวาปี
  3. อําเภอเฝ้าไร่

หนองคาย – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอเมืองหนองคาย (เฉพาะตําบลพระธาตุบังพวน และตําบลเวียงคุก)
  2. อําเภอท่าบ่อ
  3. อําเภอศรีเชียงใหม่
  4. อําเภอโพธิ์ตาก
  5. อําเภอสังคม

หนองบัวลำภู – 3 เขตเลือกตั้ง

หนองบัวลำภูมีราษฎร 507,642 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 3 คน

หนองบัวลำภู – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองหนองบัวลําภู
  2. อําเภอโนนสัง (เฉพาะตําบลกุดดู่ ตําบลโนนสัง ตําบลบ้านค้อ ตําบลบ้านถิ่น และตําบลปางกู่)

หนองบัวลำภู – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอศรีบุญเรือง
  2. อําเภอนาวัง (ยกเว้นตําบลวังปลาป้อม)
  3. อําเภอโนนสัง (เฉพาะตําบลหนองเรือ ตําบลโนนเมือง ตําบลโคกใหญ่ ตําบลโคกม่วง และตําบลนิคมพัฒนา)

หนองบัวลำภู – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอนากลาง
  2. อําเภอสุวรรณคูหา
  3. อําเภอนาวัง (เฉพาะตําบลวังปลาป้อม)

อุดรธานี – 10 เขตเลือกตั้ง

อุดรธานีมีราษฎร 1,555,465 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 10 คน

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองอุดรธานี (เฉพาะตําบลหมากแข้ง ตําบลหนองบัว ตําบลนาดี และตําบลบ้านเลื่อม)

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 2

  • อําเภอเมืองอุดรธานี (เฉพาะตําบลบ้านตาด ตําบลโนนสูง ตําบลหมูม่น ตําบลหนองนาคํา ตําบลกุดสระ ตําบลสามพร้าว ตําบลนาข่า ตําบลบ้านจั่น ตําบลหนองขอนกว้าง และตําบลนากว้าง)

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอเมืองอุดรธานี (เฉพาะตําบลบ้านขาว)
  2. อําเภอเพ็ญ
  3. อําเภอสร้างคอม

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอบ้านดุง
  2. อําเภอทุ่งฝน

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอหนองหาน
  2. อําเภอพิบูลย์รักษ์
  3. อําเภอกู่แก้ว (เฉพาะตําบลค้อใหญ่ และตําบลคอนสาย)

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอไชยวาน
  2. อําเภอศรีธาตุ
  3. อําเภอวังสามหมอ
  4. อําเภอกู่แก้ว (เฉพาะตําบลบ้านจีต และตําบลโนนทองอินทร์)

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอเมืองอุดรธานี (เฉพาะตําบลหนองไผ่)
  2. อําเภอกุมภวาปี
  3. อําเภอประจักษ์ศิลปาคม

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 8

  1. อําเภอเมืองอุดรธานี (เฉพาะตําบลหนองไฮ)
  2. อําเภอหนองวัวซอ
  3. อําเภอโนนสะอาด
  4. อําเภอหนองแสง

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 9

  1. อําเภอเมืองอุดรธานี (เฉพาะตําบลนิคมสงเคราะห์ ตําบลเชียงยืน ตําบลเชียงพิณ และตําบลโคกสะอาด)
  2. อําเภอกุดจับ
  3. อําเภอบ้านผือ (เฉพาะตําบลเขือน้ํา ตําบลคําบง ตําบลโนนทอง ตําบลหนองหัวคู และตําบลหนองแวง)

อุดรธานี – เขตเลือกตั้งที่ 10

  1. อําเภอบ้านผือ (ยกเว้นตําบลเขือน้ํา ตําบลคําบง ตําบลโนนทอง ตําบลหนองหัวคู และตําบลหนองแวง)
  2. อําเภอน้ําโสม
  3. อําเภอนายูง

อุบลราชธานี – 11 เขตเลือกตั้ง

อุบลราชธานีมีราษฎร 1,860,843 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 11 คน

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 1

  • อําเภอเมืองอุบลราชธานี (ยกเว้นตําบลไร่น้อย ตําบลหัวเรือ ตําบลขี้เหล็ก ตําบลปะอาว และตําบลหนองขอน)

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอเมืองอุบลราชธานี (เฉพาะตําบลไร่น้อย ตําบลหัวเรือ ตําบลขี้เหล็ก ตําบลปะอาว และตําบลหนองขอน)
  2. อําเภอเขื่องใน

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 3

  1. อําเภอม่วงสามสิบ
  2. อําเภอดอนมดแดง
  3. อําเภอเหล่าเสือโก้ก
  4. อําเภอตาลสุม

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอวารินชําราบ
  2. อําเภอสําโรง (เฉพาะตําบลสําโรง ตําบลโคกก่อง และตําบลบอน)

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอตระการพืชผล
  2. อําเภอกุดข้าวปุ้น

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 6

  1. อําเภอเขมราฐ
  2. อําเภอโพธิ์ไทร
  3. อําเภอนาตาล

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอศรีเมืองใหม่
  2. อําเภอโขงเจียม
  3. อําเภอสิรินธร (ยกเว้นตําบลโนนก่อ)
  4. อำเภอพิบูลมังสาหาร (เฉพาะตําบลระเว และตําบลทรายมูล)

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 8

  1. อําเภอพิบูลมังสาหาร (ยกเว้นตําบลระเว และตําบลทรายมูล)
  2. อําเภอสว่างวีระวงศ์
  3. อําเภอนาเยีย

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 9

  1. อําเภอบุณฑริก
  2. อําเภอนาจะหลวย
  3. อําเภอสิรินธร (เฉพาะตําบลโนนก่อ)

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 10

  1. อําเภอนํ้ายืน
  2. อําเภอทุ่งศรีอุดม
  3. อําเภอน้ําขุ่น
  4. อําเภอสําโรง (ยกเว้นตําบลสําโรง ตําบลโคกก่อง และตําบลบอน)
  5. อําเภอเดชอุดม (เฉพาะตําบลทุ่งเทิง)

อุบลราชธานี – เขตเลือกตั้งที่ 11

  • อําเภอเดชอุดม (ยกเว้นตําบลทุ่งเทิง)

อำนาจเจริญ – 2 เขตเลือกตั้ง

อำนาจเจริญมีราษฎร 374,617 คน เลือก สส. แบบแบ่งเขตได้ 2 คน

อำนาจเจริญ – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอเมืองอํานาจเจริญ
  2. อําเภอหัวตะพาน

อำนาจเจริญ – เขตเลือกตั้งที่ 2

  1. อําเภอเสนางคนิคม
  2. อําเภอชานุมาน
  3. อําเภอปทุมราชวงศา
  4. อําเภอพนา
  5. อําเภอลืออํานาจ

ข้อสังเกตเกี่ยวกับการกำหนดเขตเลือกตั้ง 2566

  • จำนวนราษฎรสัญชาติไทยทั่วราชอาณาจักร 65,106,481 คน เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2565
  • กกต. ได้กำหนดเขตเลือกตั้งโดยใช้ฐานเฉลี่ยจำนวนราษฎร 162,766 คน ต่อ สส. แบบแบ่งเขตหนึ่งคน
  • เขตเลือกตั้ง 400 เขต สามารถแบ่งจำนวนตามภาคได้ดังนี้
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด มี 133 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 133 คน)
    • ภาคกลาง 22 จังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร) มี 122 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 122 คน)
    • ภาคใต้ 14 จังหวัด มี 60 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 60 คน)
    • ภาคเหนือ 9 จังหวัด มี 37 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 37 คน)
    • ภาคตะวันออก 7 จังหวัด มี 29 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 29 คน)
    • ภาคตะวันตก 5 จังหวัด มี 19 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 19 คน)
  • กรุงเทพมหานครมีราษฎร 5,394,910 คน จึงได้รับการจัดสรรเขตเลือกมากที่สุด คือ 33 เขตเลือกตั้ง ทำให้มี สส. แบบแบ่งเขตได้ถึง 33 คนในจังหวัดเดียว
  • ตราด ระนอง สมุทรสาคร และสิงห์บุรี เป็น 4 จังหวัดที่มีเขตเลือกเพียงจังหวัดละ 1 เขต ทำให้ทั้ง 4 จังหวัดนี้มี สส. แบบแบ่งเขตได้จังหวัดละ 1 คน
  • จังหวัดที่มีราษฎรเกิน 1 ล้านคน มีจำนวน 21 จังหวัด
  • จังหวัดที่สามารถมี สส. แบบแบ่งเขตได้ 10 คนขึ้นไป มีจำนวน 9 จังหวัด ได้แก่
    1. กรุงเทพมหานคร ได้ 33 คน
    2. นครราชสีมา ได้ 16 คน
    3. ขอนแก่น ได้ 11 คน
    4. อุบลราชธานี ได้ 11 คน
    5. ชลบุรี ได้ 10 คน
    6. เชียงใหม่ ได้ 10 คน
    7. นครศรีธรรมราช ได้ 10 คน
    8. บุรีรัมย์ ได้ 10 คน
    9. อุดรธานี ได้ 10 คน

ไม่สะดวกไปเลือกตั้งวันอาทิตย์ที่ 14 พ.ค. 2566 สามารถใช้สิทธิลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้านอกเขตในวันอาทิตย์ที่ 7 พ.ค. 2566 แทนได้

กกต. เปิดโอกาสให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถใช้สิทธิ ลงทะเบียน เลือกตั้งล่วงหน้า 2566 นอกเขตเลือกตั้ง และ นอกราชอาณาจักร ได้ตั้งแต่ 25 มีนาคม – 9 เมษายน 2566 เพื่อให้สามารถไปลงคะแนนเลือกตั้งล่วงหน้าได้จริงในวันอาทิตย์ที่ 7 พฤษภาคม 2566

ทั้งนี้ ประชาชนสามารถ ลงทะเบียน เลือกตั้งล่วงหน้า 2566 ได้ผ่านช่องทางออนไลน์ของกรมการปกครอง BORA PORTAL เป็นทางเลือกได้อีกหนึ่งช่องทาง โดยมีรายละเอียดขั้นตอนดังต่อไปนี้

ช่วงเวลาลงทะเบียน เลือกตั้งล่วงหน้า 2566

  • ตั้งแต่ 25 มีนาคม – 9 เมษายน 2566

ช่องทางลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า

  1. ยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องถิ่นด้วยตัวเองหรือผู้แทน
  2. ยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องถิ่นทางไปรษณีย์
  3. ยื่นคำขอผ่านช่องทางออนไลน์

ขั้นตอนการลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า 2566 นอกเขต ผ่านช่องทางออนไลน์ BORA PORTAL กรมการปกครอง

  1. ผ่านเว็บไซต์ BORA PORTAL กรมการปกครอง https://thportal.bora.dopa.go.th
  2. กดปุ่ม “LOGIN ด้วย ThaID” (กรณียังไม่เคยสมัครใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลของกรมการปกครอง สามารถดูขั้นตอนการสมัครท้ายบทความนี้)
  3. แสกน QR Code ด้วยแอป ThaID หรือ กดปุ่ม “เข้าสู่ระบบด้วย ThaID”
  4. เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว ให้เลือกเมนู “ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)”
  5. เลือก “ลงทะเบียนขอใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง”
  6. ที่หน้าระบบลงทะเบียนใช้สิทธินอกเขต ให้เลือกจังหวัดที่ต้องการไปใช้สิทธิเลือกตั้งล่วงหน้านอกเขต
  7. เลือกสถานที่ที่ต้องการไปใช้สิทธิเลือกตั้งล่วงหน้านอกเขต
  8. กด “บันทึกข้อมูล”
  9. กด “ยืนยัน”
  10. ระบบจะแสดงผล “ลงทะเบียนสำเร็จ”

กรณีต้องการลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า “นอกเขตราชอาณาจักร” สำหรับคนไทยที่อยู่ต่างประเทศ ผ่านช่องทางออนไลน์ BORA PORTAL กรมการปกครอง

  1. ผ่านเว็บไซต์ BORA PORTAL กรมการปกครอง https://thportal.bora.dopa.go.th
  2. กดปุ่ม “LOGIN ด้วย ThaID” (กรณียังไม่เคยสมัครใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลของกรมการปกครอง สามารถดูขั้นตอนการสมัครท้ายบทความนี้)
  3. แสกน QR Code ด้วยแอป ThaID หรือ กดปุ่ม “เข้าสู่ระบบด้วย ThaID”
  4. เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว ให้เลือกเมนู “ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)”
  5. เลือก “ลงทะเบียนขอใช้สิทธิล่วงหน้านอกราชอาณาจักร ทางอินเทอเน็ต”
  6. ตรวจสอบข้อมูลเลขหนังสือเดินทาง (Passport) แล้วกด “ตรวจสอบข้อมูล”
  7. เลือกประเทศที่ต้องการใช้สิทธิเลือกตั้ง
  8. เลือกสถานทูต/สถานกงสุลที่ต้องการใช้สิทธิเลือกตั้ง
  9. กรอกที่อยู่ปัจจุบันในต่างประเทศเป็นภาษาอังกฤษ
  10. กรอกที่อยู่สำหรับจัดส่งเอกสารทางไปรษณีย์ (สามารถระบุเป็นภาษาท้องถิ่นได้)
  11. กรอก email สำหรับส่งอีเมลตอบกลับ
  12. กด “บันทึกการลงทะเบียน”
  13. กด “ยืนยัน”
  14. ระบบจะแสดงผล “ลงทะเบียนสำเร็จ”

ลงทะเบียนเปิดใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัล กรมการปกครอง

การลงทะเบียนเลือกตั้งนอกเขตผ่าน BORA PORTAL จำเป็นต้องสมัครใช้ ThaID ก่อนลงทะเบียนด้วย ซึ่งเป็นระบบ Digital ID ของกรมการปกครอง เพื่อสร้างระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลของประเทศรองรับการใช้งานบริการภาครัฐ โดยประชาชนทั่วไปสามารถลงทะเบียนเปิดใช้ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลได้ฟรีที่บ้านโดยไม่ต้องไปแจ้งเขต-อำเภอก็ได้

ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ด้วยตนเอง (พิสูจน์และยืนยันตัวผ่านแอป ThaID)

  1. โหลดแอป ThaID
  2. เลือกหัวข้อลงทะเบียนด้วยตนเอง
  3. ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
  4. ถ่ายรูปหน้าบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
  5. ถ่ายรูปหลังบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
  6. ตรวจสอบข้อมูลบัตรประจำตัวประชาชน หากถูกต้องให้กดยืนยัน
  7. ถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเอง
  8. ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
  9. ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
  10. เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน

ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ผ่านเจ้าหน้าที่

  1. โหลดแอป ThaID
  2. เลือกหัวข้อลงทะเบียนผ่านเจ้าหน้าที่
  3. นำบัตรประจำตัวประชาชนใบล่าสุด เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้รับลงทะเบียนทำการตรวจสอบข้อมูลก่อนการลงทะเบียน ณ สำนักทะเบียน
  4. เปิดแอปพลิเคชัน ThaID พร้อมทั้งอนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ของเครื่องโทรศัพท์มือถือ
  5. ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
  6. ระบุเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก ให้ถูกต้อง
  7. แสกนลายพิมพ์นิ้วชี้กับเจ้าหน้าที่
  8. แสกน QR code บนหน้าจอของเจ้าหน้าที่ ด้วยแอพพลิเคชั่น ThaID
  9. ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
  10. ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
  11. เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน

หมายเหตุ: กรณีลืมรหัสผ่าน สามารถรีเซ็ตรหัสผ่านได้ โดยการถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเองเพื่อขอสร้างรหัสผ่านใหม่

iTAX คำนวณและวางแผนภาษี
(100K+)