เขตเลือกตั้ง 2566 ปทุมธานี ทั้ง 7 เขต (สส. 7 คน)

ทั่วไป

26,892 VIEWS

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ออก ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จํานวนเขตเลือกตั้ง และท้องที่ที่ประกอบเป็นเขตเลือกตั้ง เพื่อกำหนดเขตเลือกตั้ง 2566 สำหรับเขตเลือกตั้งทั้ง 400 เขต ทั้ง 77 จังหวัดทั่วประเทศ โดยได้แบ่งเขตเลือกตั้งของ ปทุมธานี เป็น 7 เขตเลือกตั้ง ชาวปทุมธานีจึงสามารถมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) แบบแบ่งเขตได้ 7 คน

เขตเลือกตั้ง ปทุมธานี รวม 7 เขตเลือกตั้ง (สส. 7 คน)

ปทุมธานีมีราษฎร 1,191,386 คน (อ้างอิงตามประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี) เมื่อเฉลี่ยจำนวนราษฎร 162,766 คน ต่อ สส. แบบแบ่งเขตหนึ่งคน ทำให้ ปทุมธานี สามารถแบ่ง เขตเลือกตั้ง ออกได้เป็น 7 เขต ดังต่อไปนี้

ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 1

  1. อําเภอลาดหลุมแก้ว
  2. อําเภอสามโคก
  3. อําเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตําบลบ้านฉาง ตําบลบางหลวง และตําบลบางเดื่อ)
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส. ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 1
เบอร์เลือกตั้ง ชื่อ พรรค
เบอร์ 1

นายวรวิทย์ จึงสุระ

พรรคเสรีรวมไทย

เบอร์ 2

นายเสวก ประเสริฐสุข

พรรคพลังประชารัฐ

เบอร์ 3

นายสรวีย์ ศุภปณิตา

พรรคก้าวไกล

เบอร์ 4

นายสุรศักดิ์ สุรทัตโชค

พรรครวมไทยสร้างชาติ

เบอร์ 5

นายรังสิต ใยยุง

พรรคไทยสร้างไทย

เบอร์ 6

นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล

พรรคเพื่อไทย
เบอร์ 7

นายต่อวงศ์ อนุแสน

พรรคประชาธิปัตย์
เบอร์ 8

นายนพพร ขาวขำ

พรรคภูมิใจไทย
เบอร์ 9 นายสุรศักดิ์ พรหมมาศ พรรคไทยภักดี

ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 2

  • อําเภอเมืองปทุมธานี (ยกเว้นตําบลบ้านฉาง ตําบลบางหลวง ตําบลบางเดื่อ และตำบลสวนพริกไทย)
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส. ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 2
เบอร์เลือกตั้ง ชื่อ พรรค
เบอร์ 1

นายเจษฎา ดนตรีเสนาะ

พรรคก้าวไกล

เบอร์ 2

นายสุรเดช กองรัตน์

พรรครวมไทยสร้างชาติ

เบอร์ 3

นายนพดล ลัดดาแย้ม

พรรคพลังประชารัฐ

เบอร์ 4

พันจ่าอากาศเอกสฤษดิ์ เย็นทรวง

พรรคเสรีรวมไทย

เบอร์ 5

นายคิว อรุโณรส

พรรคประชาธิปัตย์

เบอร์ 6

นายวิชัย แก้วทอง

พรรคราษฎร์วิถี
เบอร์ 7

พลตำรวจตรีวัฒนา วงศ์จันทร์

พรรคภูมิใจไทย
เบอร์ 8

นายศุภชัย นพขำ

พรรคเพื่อไทย
เบอร์ 9 นางสาวเจนจิรา ดำชะไว พรรคไทยภักดี

ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 3

  • อําเภอคลองหลวง (เฉพาะเทศบาลเมืองท่าโขลง และตําบลคลองสาม)
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส. ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 3
เบอร์เลือกตั้ง ชื่อ พรรค
เบอร์ 1

นายนพนันทร์ หนูเจริญ

พรรคไทยสร้างไทย

เบอร์ 2

นายยุทธศักดิ์ ชูประเสริฐ

พรรคเพื่อไทย

เบอร์ 3

นายสุทัศน์ พรหมมาศ

พรรคไทยภักดี
เบอร์ 4 นายปรีชา ชื่นชนกพิบูล  พรรคพลังประชารัฐ
เบอร์ 5 นายชัยพร จันทนา พรรครวมไทยสร้างชาติ
เบอร์ 6 นายอนาวิล รัตนสถาพร พรรคภูมิใจไทย
เบอร์ 7 นายสมชาติ ค้าทันเจริญ  พรรคเสรีรวมไทย
เบอร์ 8 นายนภัทร โภคาสัมฤทธิ์ พรรคประชาธิปัตย์
เบอร์ 9 นางสาวชลธิชา แจ้งเร็ว  พรรคก้าวไกล
เบอร์ 10 นายโชคชนะ ทวีกุล พรรคพลังปวงชนไทย

ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 4

  1. อําเภอธัญบุรี (เฉพาะตําบลประชาธิปัตย์)
  2. อําเภอคลองหลวง (เฉพาะเทศบาลเมืองคลองหลวง)
  3. อําเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตําบลสวนพริกไทย)
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส. ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 4
เบอร์เลือกตั้ง ชื่อ พรรค
เบอร์ 1

นางประเสริฐศรี ฮ้อแสงชัย

พรรครวมไทยสร้างชาติ
เบอร์ 2 นายสดใส โรจนวิชัย พรรครวมแผ่นดิน
เบอร์ 3 นายศักดิ์สง่า ชนะภัย พรรคเสรีรวมไทย
เบอร์ 4 นายสุทิน นพขำ พรรคเพื่อไทย
เบอร์ 5 นายสกล สุนทรวาณิชย์กิจ  พรรคก้าวไกล
เบอร์ 6 นายอานนท์ นุ่นสุข  พรรคประชาธิปัตย์
เบอร์ 7 นายยุทธวัฒน์ หาญเกียรติกล้า พรรคพลังประชารัฐ
เบอร์ 8 นางสาวณัฐธิดา เกียรติพัฒนาชัย  พรรคภูมิใจไทย
เบอร์ 9

นายขุนนเรศ อัครเดชาโภคิน 

พรรคไทยสร้างไทย
เบอร์ 10 นายสุทิน บุญญบาล พรรคไทยภักดี
เบอร์ 11 นายปฏิพัทธ์ รัตนสมบูรณ์  พรรคพลังปวงชนไทย

ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 5

  1. อําเภอคลองหลวง (เฉพาะตําบลคลองสี่ ตําบลคลองห้า ตําบลคลองหก และตําบลคลองเจ็ด)
  2. อําเภอธัญบุรี (เฉพาะตําบลบึงยี่โถ ตําบลรังสิต และตําบลลําผักกูด)
  3. อําเภอหนองเสือ (เฉพาะตําบลบึงชําอ้อ ตําบลบึงกาสาม และตําบลนพรัตน์)
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส. ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 5
เบอร์เลือกตั้ง ชื่อ พรรค
เบอร์ 1

นายพนธ์ชาติ อรุณกรพสุรักษ์

พรรคเสรีรวมไทย
เบอร์ 2 นายมนัสนันท์ หลีนวรัตน์ พรรคเพื่อไทย
เบอร์ 3 นางสิริกัญญา เสาะแสวง พรรครวมไทยสร้างชาติ
เบอร์ 4

นายฐานพัฒน์ โตกำแพง

พรรคไทยภักดี
เบอร์ 5 นายพิชัย ปิยะกาโส  พรรคก้าวไกล
เบอร์ 6 นายณฤทธิ์ นาควงษม์  พรรคประชาธิปัตย์
เบอร์ 7 นายวิรัช พยุงวงษ์  พรรคพลังประชารัฐ
เบอร์ 8 นางทิพกฤตา พิจารย์  พรรคประชาธิปไตยใหม่
เบอร์ 9 นายพิษณุ พลธี  พรรคภูมิใจไทย

ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 6

  • อําเภอลําลูกกา (เฉพาะตําบลคูคต และตําบลลาดสวาย)
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส. ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 6
เบอร์เลือกตั้ง ชื่อ พรรค
เบอร์ 1

นายภัทรพล แก้วสกุณี

พรรครวมไทยสร้างชาติ
เบอร์ 2 นายจิรชาติ ชายวงศ์ พรรคชาติไทยพัฒนา
เบอร์ 3 พันตำรวจเอกปัญญา ชะเอมเทศ  พรรคเสรีรวมไทย
เบอร์ 4 นายเชตวัน เตือประโคน พรรคก้าวไกล
เบอร์ 5 นายเกียรติศักดิ์ ส่องแสง พรรคพลังประชารัฐ
เบอร์ 6 นางนภัสนันท์ วิสฤตาภา พรรคประชาธิปัตย์
เบอร์ 7 นายเอกชัย ศรีสุขชยะกุล พรรคภูมิใจไทย
เบอร์ 8 นายชัยยันต์ ผลสุวรรณ์ พรรคเพื่อไทย
เบอร์ 9 พันจ่าอากาศเอกวิชัย หัสดี พรรคไทยสร้างไทย
เบอร์ 10 นายปฏิวัติ พิจารณ์  พรรคประชาธิปไตยใหม่
เบอร์ 11 นาวาอากาศเอกอรงค์กฏ พันธ์ดารา พรรคเพื่อชาติ
เบอร์ 12 นายบุญชู มุขประดับ พรรคไทยภักดี

ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 7

  1. อําเภอหนองเสือ (เฉพาะตําบลบึงบอน ตําบลบึงบา ตําบลหนองสามวัง และตําบลศาลาครุ)
  2. อําเภอธัญบุรี (เฉพาะตําบลบึงสนั่น และตําบลบึงน้ํารักษ์)
  3. อําเภอลําลูกกา (เฉพาะตําบลบึงคําพร้อย ตําบลลําลูกกา ตําบลบึงทองหลาง ตําบลลําไทร ตําบลบึงคอไห และตําบลพืชอุดม)
รายชื่อผู้สมัคร ส.ส. ปทุมธานี – เขตเลือกตั้งที่ 7
เบอร์เลือกตั้ง ชื่อ พรรค
เบอร์ 1

นายยงยุทธ มั่นบุปผชาติ

พรรคเพื่อไทย
เบอร์ 2 นางสาวพรพิมล ธรรมสาร พรรคภูมิใจไทย
เบอร์ 3 นายพลวัฒน์ จันทะเอ พรรคเสรีรวมไทย
เบอร์ 4 นายพนพ เกษามา พรรคประชาธิปัตย์
เบอร์ 5 นายศุภลักษณ์ สายยงค์ พรรคประชาธิปไตยใหม่
เบอร์ 6 พันเอกมานพ ชมชู พรรคไทยสร้างไทย
เบอร์ 7 นายประสิทธิ์ ปัทมผดุงศักดิ์ พรรคก้าวไกล
เบอร์ 8 นางสาวกฤษณา วงศ์คำ พรรคพลังประชารัฐ
เบอร์ 9 นายอธิวัฒน์ สอนเนย พรรครวมไทยสร้างชาติ
เบอร์ 10 นางวลัยพรรณ รัตนสมบูรณ์  พรรคพลังปวงชนไทย
เบอร์ 11 นางสาวกุลวรา รัตนคงคา พรรคไทยภักดี

เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับการกำหนดเขตเลือกตั้ง 2566

  • จำนวนราษฎรสัญชาติไทยทั่วราชอาณาจักร 65,106,481 คน เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2565
  • กกต. ได้กำหนดเขตเลือกตั้งโดยใช้ฐานเฉลี่ยจำนวนราษฎร 162,766 คน ต่อ สส. แบบแบ่งเขตหนึ่งคน
  • เขตเลือกตั้ง 400 เขต สามารถแบ่งจำนวนตามภาคได้ดังนี้
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด มี 133 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 133 คน)
    • ภาคกลาง 22 จังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร) มี 122 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 122 คน)
    • ภาคใต้ 14 จังหวัด มี 60 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 60 คน)
    • ภาคเหนือ 9 จังหวัด มี 37 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 37 คน)
    • ภาคตะวันออก 7 จังหวัด มี 29 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 29 คน)
    • ภาคตะวันตก 5 จังหวัด มี 19 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 19 คน)
  • กรุงเทพมหานครมีราษฎร 5,394,910 คน จึงได้รับการจัดสรรเขตเลือกมากที่สุด คือ 33 เขตเลือกตั้ง ทำให้มี สส. แบบแบ่งเขตได้ถึง 33 คนในจังหวัดเดียว
  • ตราด ระนอง สมุทรสาคร และสิงห์บุรี เป็น 4 จังหวัดที่มีเขตเลือกเพียงจังหวัดละ 1 เขต ทำให้ทั้ง 4 จังหวัดนี้มี สส. แบบแบ่งเขตได้จังหวัดละ 1 คน
  • จังหวัดที่มีราษฎรเกิน 1 ล้านคน มีจำนวน 21 จังหวัด
  • จังหวัดที่สามารถมี สส. แบบแบ่งเขตได้ 10 คนขึ้นไป มีจำนวน 9 จังหวัด ได้แก่
    1. กรุงเทพมหานคร ได้ 33 คน
    2. นครราชสีมา ได้ 16 คน
    3. ขอนแก่น ได้ 11 คน
    4. อุบลราชธานี ได้ 11 คน
    5. ชลบุรี ได้ 10 คน
    6. เชียงใหม่ ได้ 10 คน
    7. นครศรีธรรมราช ได้ 10 คน
    8. บุรีรัมย์ ได้ 10 คน
    9. อุดรธานี ได้ 10 คน

เบอร์เลือกตั้ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ “ปาร์ตี้ลิสต์” เลือกตั้ง 2566 

การเลือกตั้ง 2566 มีพรรคการเมืองมาลงทะเบียนรวม 67 พรรคการเมือง ดังนี้

เบอร์เลือกตั้ง พรรค
เบอร์ 1

  พรรคใหม่

เบอร์ 2

  พรรคประชาธิปไตยใหม่

เบอร์ 3

  พรรคเป็นธรรม

เบอร์ 4

  พรรคท้องที่ไทย

เบอร์ 5

  พรรคพลังสังคมใหม่

เบอร์ 6

  พรรคครูไทยเพื่อประชาชน

เบอร์ 7

  พรรคภูมิใจไทย

เบอร์ 8

  พรรคแรงงานสร้างชาติ

เบอร์ 9

  พรรคพลัง

เบอร์ 10

  พรรคอนาคตไทย

เบอร์ 11

  พรรคประชาชาติ

เบอร์ 12

  พรรคไทยรวมไทย

เบอร์ 13

  พรรคไทยชนะ

เบอร์ 14

พรรคชาติพัฒนากล้า

เบอร์ 15

  พรรคกรีน

เบอร์ 16

  พรรคพลังสยาม

เบอร์ 17

  พรรคเสมอภาค

เบอร์ 18

  พรรคชาติไทยพัฒนา

เบอร์ 19

  พรรคภาคีเครือข่ายไทย

เบอร์ 20

  พรรคเปลี่ยน

เบอร์ 21

  พรรคไทยภักดี

เบอร์ 22

  พรรครวมไทยสร้างชาติ

เบอร์ 23

  พรรครวมใจไทย

เบอร์ 24

  พรรคเพื่อชาติ

เบอร์ 25

  พรรคเสรีรวมไทย

เบอร์ 26

  พรรคประชาธิปัตย์

เบอร์ 27

  พรรคพลังธรรมใหม่

เบอร์ 28

  พรรคไทยพร้อม

เบอร์ 29

  พรรคเพื่อไทย

เบอร์ 30

  พรรคทางเลือกใหม่

เบอร์ 31

  พรรคก้าวไกล

เบอร์ 32

  พรรคไทยสร้างไทย

เบอร์ 33

  พรรคไทยเป็นหนึ่ง

เบอร์ 34

  พรรคแผ่นดินธรรม

เบอร์ 35

  พรรครวมพลัง

เบอร์ 36

  พรรคเพื่อชาติไทย

เบอร์ 37

  พรรคพลังประชารัฐ

เบอร์ 38

  พรรคเพื่อไทรวมพลัง

เบอร์ 39

  พรรคมิติใหม่

เบอร์ 40

  พรรคประชาภิวัฒน์

เบอร์ 41

  พรรคไทยธรรม

เบอร์ 42

  พรรคไทยศรีวิไลย์

เบอร์ 43

  พรรคพลังสหกรณ์

เบอร์ 44

  พรรคราษฎร์วิถี

เบอร์ 45

  พรรคแนวทางใหม่

เบอร์ 46

  พรรคถิ่นกาขาวชาววิไล

เบอร์ 47

  พรรครวมแผ่นดิน

เบอร์ 48

  พรรคเพื่ออนาคตไทย

เบอร์ 49

  พรรครักษ์ผืนป่าประเทศไทย

เบอร์ 50

พรรคพลังปวงชนไทย

เบอร์ 51

พรรคสามัญชน

เบอร์ 52

พรรคชาติรุ่งเรือง

เบอร์ 53

พรรคพลังสังคม

เบอร์ 54

พรรคภราดรภาพ

เบอร์ 55

พรรคไทยก้าวหน้า

เบอร์ 56

พรรคประชาไทย

เบอร์ 57

พรรคพลังเพื่อไทย

เบอร์ 58

พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย

เบอร์ 59

พรรคช่วยชาติ

เบอร์ 60

พรรคความหวังใหม่

เบอร์ 61

พรรคคลองไทย

เบอร์ 62

พรรคพลังไทยรักชาติ

เบอร์ 63

พรรคประชากรไทย

เบอร์ 64

พรรคเส้นด้าย

เบอร์ 65

พรรคเปลี่ยนอนาคต

เบอร์ 66

พรรคพลังประชาธิปไตย

เบอร์ 67

พรรคไทยสมาร์ท

ขั้นตอน เช็กสิทธิเลือกตั้ง 2566 ผ่านช่องทางออนไลน์ เว็บไซต์ กรมการปกครอง

  1. ไปที่เว็บไซต์ ตรวจสอบรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) โดย กรมการปกครอง https://boraservices.bora.dopa.go.th/election/enqelection/
  2. กรอกเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก แล้วกดปุ่ม “ตรวจสอบ”
  3. ที่หน้าระบบข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะแสดงผลรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
    • ชื่อ จังหวัด และเขตที่มีสิทธิ
    • กรณีลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า จะแสดงข้อมูลการขอไปใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง ได้แก่ วันที่เลือกตั้งล่วงหน้า จังหวัดที่ไปใช้สิทธิ สถานที่ที่จะไปใช้สิทธิ และลำดับในบัญชี

วันเลือกตั้ง 2566

  • วันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม 2566

ตรวจสอบสิทธิเลือกตั้ง 2566 ผ่านช่องทางออนไลน์ BORA PORTAL กรมการปกครอง

  1. ไปที่เว็บไซต์ BORA PORTAL กรมการปกครอง https://thportal.bora.dopa.go.th
  2. กดปุ่ม “LOGIN ด้วย ThaID” (กรณียังไม่เคยสมัครใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลของกรมการปกครอง สามารถดูขั้นตอนการสมัครท้ายบทความนี้)
  3. แสกน QR Code ด้วยแอป ThaID หรือ กดปุ่ม “เข้าสู่ระบบด้วย ThaID”
  4. เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว ให้เลือกเมนู “ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)”
  5. เลือก “ตรวจสอบสิทธิเลือกตั้ง”
  6. ที่หน้าระบบข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะแสดงผลรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
    • ชื่อ จังหวัด และเขตที่มีสิทธิ
    • กรณีลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า จะแสดงข้อมูลการขอไปใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง ได้แก่ วันที่เลือกตั้งล่วงหน้า จังหวัดที่ไปใช้สิทธิ สถานที่ที่จะไปใช้สิทธิ และลำดับในบัญชี

ลงทะเบียนเปิดใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัล กรมการปกครอง

การลงทะเบียนเลือกตั้งนอกเขตผ่าน BORA PORTAL จำเป็นต้องสมัครใช้ ThaID ก่อนลงทะเบียนด้วย ซึ่งเป็นระบบ Digital ID ของกรมการปกครอง เพื่อสร้างระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลของประเทศรองรับการใช้งานบริการภาครัฐ โดยประชาชนทั่วไปสามารถลงทะเบียนเปิดใช้ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลได้ฟรีที่บ้านโดยไม่ต้องไปแจ้งเขต-อำเภอก็ได้

ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ด้วยตนเอง (พิสูจน์และยืนยันตัวผ่านแอป ThaID)

  1. โหลดแอป ThaID
  2. เลือกหัวข้อลงทะเบียนด้วยตนเอง
  3. ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
  4. ถ่ายรูปหน้าบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
  5. ถ่ายรูปหลังบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
  6. ตรวจสอบข้อมูลบัตรประจำตัวประชาชน หากถูกต้องให้กดยืนยัน
  7. ถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเอง
  8. ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
  9. ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
  10. เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน

ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ผ่านเจ้าหน้าที่

  1. โหลดแอป ThaID
  2. เลือกหัวข้อลงทะเบียนผ่านเจ้าหน้าที่
  3. นำบัตรประจำตัวประชาชนใบล่าสุด เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้รับลงทะเบียนทำการตรวจสอบข้อมูลก่อนการลงทะเบียน ณ สำนักทะเบียน
  4. เปิดแอปพลิเคชัน ThaID พร้อมทั้งอนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ของเครื่องโทรศัพท์มือถือ
  5. ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
  6. ระบุเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก ให้ถูกต้อง
  7. แสกนลายพิมพ์นิ้วชี้กับเจ้าหน้าที่
  8. แสกน QR code บนหน้าจอของเจ้าหน้าที่ ด้วยแอพพลิเคชั่น ThaID
  9. ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
  10. ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
  11. เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน

หมายเหตุ: กรณีลืมรหัสผ่าน สามารถรีเซ็ตรหัสผ่านได้ โดยการถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเองเพื่อขอสร้างรหัสผ่านใหม่

iTAX คำนวณและวางแผนภาษี
(100K+)