Tag: ภาษีเงินได้

ทั่วไป

สภาษี รวมพลคนเสียภาษี : ถ้าภาษีออกแบบได้

สภาษี วาระที่ 1 ถ้าภาษีออกแบบได้ หลังจาก iTAXpayer ร่วมกันออกแบบภาษีในอุดมคติของแต่ละคน iTAX ได้สรุปข้อเสนอ ที่ทำให้ผู้เสียภาษีจะยินดีจ่ายภาษีมากยิ่งขึ้น อ่านต่อ

ทั่วไป

เงินชดเชยจากการเลิกจ้าง เสียภาษียังไง?

ค่าชดเชยการเลิกจ้างตามกฎหมายกำหนด ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในส่วนที่ไม่เกินจากค่าจ้างของการทำงาน 300 วันสุดท้าย (ยกเว้นภาษีสูงสุด 300,000 บาท) อ่านต่อ

ทั่วไป

3 สิ่งที่ต้องรีบบอกเพื่อนก่อนหมดเวลา ยื่นภาษี

ปัจจัยสำคัญในการยื่นภาษีหลักๆ มีอยู่ 3 เรื่องคือ 1. ยื่นรายได้ให้ครบ 2.เช็กสิทธิลดหย่อนภาษีให้ครบ 3.กรอกแบบฟอร์มภาษีให้ถูกต้อง เพียงเท่านี้การยื่นภาษีของคุณก็จะไม่มีปัญหา อ่านต่อ

ลดหย่อนภาษี

มีคนใช้ สิทธิลดหย่อนภาษีพ่อแม่ แทนเรา ทำไงดี?

หลายๆ ครั้งที่เราไม่สามารถใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีได้มีสาเหตุมาจากการยื่นขอใช้สิทธิ์ที่ซ้ำซ้อนกัน และหากพบว่าคนที่ใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีตัดหน้าเราไปเป็นพี่น้องเราเอง คุณก็จะไม่สามารถใช้สิทธิ์ลดหย่อนพ่อแม่ในปีนี้ได้ อ่านต่อ

ทั่วไป

สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ ภาษีเมื่อออกจากงาน

การออกจากงานประจำอาจเกิดได้ทั้งเต็มใจและไม่เต็มใจ ซึ่งนอกจากความคุ้มครองตามกฎหมายแรงงานแล้ว ภาษีก็มีส่วนเกี่ยวข้องเช่นกัน หากคุณได้รับเงินก้อนเพราะเหตุออกจากงาน เงินที่คุณได้รับแต่ละรายการมีผลต่อภาษี และหน้าที่ยื่นภาษีด้วย อ่านต่อ

ทั่วไป

นักกีฬา E-Sport เสียภาษียังไง?

หากนักกีฬา E-Sport มีรายได้ แม้จะยังมีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ แต่การเป็นผู้เยาว์ก็ไม่ได้ทำให้นักกีฬาได้รับยกเว้นภาษี และหากมีรายได้ในฐานะนักกีฬาอาชีพ จึงให้ทางเลือกสำหรับหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับรายได้ของนักกีฬา E-Sport ได้ 2 วิธี อ่านต่อ

ทั่วไป

นักกีฬาเอเชียนเกมส์ได้เงินอัดฉีด เสียภาษียังไง?

หากนักกีฬาได้รับเงินให้เปล่าจากบริษัทห้างร้าน (เงินอัดฉีด) โดยผู้ให้ไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทน แต่ถ้าจำนวนเงินที่ได้รับนั้นไม่เกิน 10 ล้านบาท นักกีฬาจะได้รับยกเว้น ไม่ต้องนำเงินอัดฉีดส่วนนี้มาเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (มาตรา 42(28) ประมวลรัษฎากร) อ่านต่อ

ทั่วไป

รู้ยัง? เงินเดือนเท่าไหร่ ถึงไม่ต้องเสียภาษี

รู้ไว้ไม่เสียหาย โครงสร้างภาษีปี 2561 มีผลกับ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยเฉพาะหน้าที่ของผู้มีรายได้จากงานประจำ (เงินได้ประเภทที่ 1) ในการ “ยื่นภาษี” และ “เสียภาษี” ยังไงบ้าง ทำไมรายได้เท่านี้ถึงไม่ต้องเสียภาษีเราไปดูกัน อ่านต่อ

iTAX คำนวณและวางแผนภาษี
(100K+)